All articles

  • EIA-EHIA ถ่านหินฉบับรัฐบาล คสช.

    การประกาศใบแดงให้กับ EHIA ในครั้งนี้สะท้อนถึงความล้มเหลวของการจัดทำรายงาน EIA และ EHIA ครั้งแรกของประเทศไทยที่รัฐบาลยอมรับท่ามกลางการต่อสู้เพื่อปฎิรูปกระบวนการจัดทำรายงานผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมซึ่งมีการขับเคลื่อนมายาวนานกว่า5ปี โดยที่ผ่านมาหน่วยงานของรัฐเพิกเฉยต่อข้อเสนอเหล่านั้นมาโดยตลอด

    จริยา เสนพงศ์ 7 min read
  • อัปยศ! วันที่ผู้นำประเทศไทยเลือกเดินหน้าถ่านหิน

    หลังจากชุมชนท้องถิ่นและภาคประชาชนขับเคลื่อนเพื่อคัดค้านโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่มาเป็นเวลากว่า 3 ปี ในที่สุดพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ในฐานะประธานการประชุมคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) อนุมัติให้เดินหน้าโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่แล้ว ท่ามกลางเสียงคัดค้านของประชาชนที่มารอฟัง ซึ่งไม่เห็นด้วยและกังวลต่อผลกระทบของโครงการ

  • โรงไฟฟ้าถ่านหินและระบบผูกขาดพลังงานของไทย

    การสั่งเดินหน้าโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่สะท้อนให้เห็นระบบผูกขาดพลังงานของประเทศอย่างเหนียวแน่นและยังอยู่ในภาวะยุคมืดอีกหลายปีนับจากนี้

    จริยา เสนพงศ์ 5 min read
  • “ถ่านหิน-ไฟฟ้า-ทรัพยากร” อะไรคือทางออกของปัญหา?

    ในช่วงเวลาที่ทั่วโลกต่างหันมาเดินหน้าเพื่อลดก๊าซเรือนกระจกต้นเหตุของวิกฤตโลกร้อนและภัยพิบัติที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ แต่ภาครัฐของไทยยังทำให้คนไทยรอคอยเก้อ

  • ผลกระทบทางสังคมและสิ่งแวดล้อม จากการลงทุนถ่านหินของบริษัทไทยในอินโดนีเซีย

    เหมืองถ่านหินของบริษัทบ้านปูฯ ซึ่งจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สร้างผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ เป็นรอยแผลที่บาดลึกและยากเกินจะเยียวยาของผู้คนในจังหวัดกาลิมันตัน อินโดนีเซีย ไม่ว่าจะเป็นการทำลายป่า การปนเปื้อนมลพิษในแหล่งน้ำและผืนดิน รวมไปถึงการละเมิดสิทธิชุมชน

    Greenpeace Thailand
  • ลาก่อนถ่านหิน! “พีบอดี” เหมืองถ่านหินที่ใหญ่ที่สุดในโลกล้มละลาย

    โดมิโนชิ้นใหญ่ที่สุดล้มครืน สัญญาณเตือนแห่งทางตันของอุตสาหกรรมถ่านหิน

  • การแย่งยึดน้ำครั้งใหญ่

    ทรัพยากรน้ำจืดโลกที่กำลังลดลงอย่างรวดเร็วมีแนวโน้มร่อยหรอลงอย่างต่อเนื่องหากแผนการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินแห่งใหม่หลายร้อยแห่งทั่วโลกยังคงเดินหน้าซึ่งเป็นแรงกดดันต่อสภาวะภัยแล้งที่รุนแรงและการแย่งชิงทรัพยากรน้ำ

    Greenpeace Thailand
  • ต้นทุนที่แท้จริงของถ่านหิน

    ในปัจจุบันถ่านหินเกือบร้อยละ 40 ถูกนำไปใช้ในการผลิตไฟฟ้าทั่วโลก อย่างไรก็ตามการเผาไหม้ของถ่านหินเป็นสิ่งที่ให้โทษอย่างร้ายแรงที่สุดต่อโลก เพราะทำลายสิ่งแวดล้อมที่ไม่สามารถสร้างทดแทนได้ รวมถึงสุขภาพของมนุษย์และสังคมต่างๆทั่วโลก

    Greenpeace Thailand
  • ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) จากโรงไฟฟ้าถ่านหินคือภัยคุกคามสุขภาวะของคนไทย

    ซูม กรณีการวิพากษ์รายงาน “ต้นทุนชีวิต: โรงไฟฟ้าถ่านหินกับภัยคุกคามต่อสุขภาพของคนไทย” ในประเด็นผลกระทบสุขภาพจากถ่านหินผ่านสื่อต่างๆ และการที่ กฟผ. ยืนยันว่าโรงไฟฟ้าถ่านหิน กฟผ. มีเทคโนโลยีทันสมัยและการควบคุมมลภาวะที่ดีกว่ามาตรฐานกฎหมาย รวมทั้งผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศทุกตัวอยู่ในเกณฑ์ดี จึงไม่เป็นสาเหตุของการเจ็บป่วยและเสียชีวิตก่อนวัยอันควรอย่างแน่นอน กฟผ. ได้อ้างถึงเรื่องฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน แบบหลบเลี่ยงประเด็นโดยบอกว่า "ฝุ่นขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน(PM2.5) ซึ่งรายงานของ กรีนพีซระบุว่า หากมีการก่อสร้างโรงไฟฟ้ากระบี่และเทพาจะทำให้เกิดมลภาวะแพร่กระจายข้ามจังหวัดหรือข้ามประเทศนั้น จากการที่โครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินของ กฟผ. ทั้ง 2 โครงการมีมาตรการควบคุม PM10 และ PM2.5 จากแหล่งผลิตตามมาตรฐานสากลโดยได้กำหนดไว้ในรายงาน EHIA ดังกล่าวมาแล้ว ประกอบกับการตรวจวัดค่าจริงในบรรยากาศรอบโรงไฟฟ้าถ่านหินในปัจจุบันของ กฟผ. จึงมั่นใจได้ว่า โครงการทั้ง 2 จะไม่ทำให้เกิดมลภาวะแพร่กระจายตามแบบจำลองของกรีนพีซ...”

    จริยา เสนพงศ์ และ ธารา บัวคำศรี 6 min read
  • มัจจุราชในความเงียบ

    เหตุผลที่ทำให้ประเทศในทวีปยุโรปนำพลังงานหมุนเวียนมาใช้แทนพลังงานถ่านหิน ข้อมูลโดยสรุป โรงไฟฟ้าถ่านหินคือแหล่งมลพิษทางอากาศที่ก่อให้เกิดมลภาวะทางอากาศอันเลวร้ายที่สุดต่อทวีปยุโรปและทั่วโลก กรดแก๊ส เขม่าควันไฟ และฝุ่นละอองจากอุตสาหกรรมถ่านหินขนาดใหญ่กลายเป็นฝุ่นละอองขนาดเล็กในอากาศที่สามารถผ่านเข้าไปสู่ปอดและกระแสเลือดของมนุษย์ได้โดยการหายใจ ภาวะมลพิษดังกล่าวเป็นภัยต่อสุขภาพของทารก เด็ก และผู้ใหญ่ ที่เป็นสาเหตุของโรคร้ายเช่น โรคหัวใจล้มเหลว โรคมะเร็งปอด อีกทั้งเพิ่มความเสี่ยงในการเป็นโรคหอบหืด และ โรคทางเดินหายใจอื่นๆ เป็นต้น โลหะหนักจำนวนหลายหมื่นกิโลกรัม เช่น ปรอท ตะกั่ว สารหนู และแคดเมียม ที่ถูกปล่อยออกมาจากโรงไฟฟ้าถ่านหิน ก่อให้เกิดโรคมะเร็งและเป็นอันตรายต่อพัฒนาการการเจริญเติบโตของเด็ก แม้ว่าโรงไฟฟ้าถ่านหินจะก่อให้เกิดปัญหาทางสุขภาพมากมาย แต่รัฐบาลของแต่ละประเทศในยุโรปยังคงไม่สามารถล้มเลิกการใช้โรงไฟฟ้าพลังงานถ่านหินนี้ได้ การใช้ถ่านหินยังคงเพิ่มขึ้นในยุโรปอย่างต่อเนื่องในแต่ละปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 ถึง พ.ศ.…

    Greenpeace Thailand