All articles
-
4 เหตุผลที่ตอบว่าทำไม Fast Fashion ไม่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ตลาดสินค้าจากแบรนด์ฟาสต์แฟชั่นกำลังขยายตัวอย่างมหาศาล ด้วยกลยุทธ์ด้านราคาที่ย่อมเยาว์ เสื้อผ้าออกแบบตามกระแส แต่ในอีกด้านหนึ่งโมเดลธุรกิจเช่นนี้สร้างความไม่ยั่งยืนให้กับสิ่งแวดล้อมและละเมิดสิทธิมนุษยชนร้ายแรง
-
สุดช็อก! รายงานกรีนพีซ แอฟริกาเผยผลกระทบของสารพิษในกานา จากขยะสิ่งทออุตสาหกรรมฟาสต์แฟชั่น
รายงานฉบับใหม่ของกรีนพีซ แอฟริกาและกรีนพีซ เยอรมนี เปิดโปงความเสียหายด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมระดับวิกฤตในกานา โดยมีสาเหตุจากอุตสาหกรรมการซื้อขายสิ่งทอมือสองระดับโลก รายงานที่มีชื่อว่า “Fast Fashion, Slow Poison: The Toxic Textile Crisis in Ghana,” เปิดโปงผลกระทบและความเสียหายด้านสิ่งแวดล้อม ผลกระทบต่อชุมชนและระบบนิเวศในกานา จากการทิ้งขยะสิ่งทอ (เสื้อผ้า เครื่องประดับ รองเท้า ฯลฯ) จากกลุ่มประเทศซีกโลกเหนือ โดยส่วนใหญ่เป็นเสื้อผ้าจากอุตสาหกรรมฟาสต์แฟชั่น
-
สำรวจเหตุผลที่ทำไม Fast Fashion กลายเป็นตัวเร่งให้วิกฤตสภาพภูมิอากาศรุนแรงขึ้น ตอนที่ 4 : อนาคตของอุตสาหกรรม Fast Fashion จะเปลี่ยนแปลงให้ดีขึ้นได้หรือไม่?
บริษัทฟาสต์แฟชั่นกำลังกลายเป็นกลุ่มที่เชี่ยวชาญในการเสนอทางออกในการแก้ปัญหาที่ล้มเหลว ซึ่งในทางกลับกัน ทางออกเหล่านี้เป็นการประชาสัมพันธ์เพื่อภาพลักษณ์ที่ดีของบริษัทและเป็นความพยายามให้เข้ากับกระแสสังคมตอนนี้
-
สำรวจเหตุผลที่ทำไม Fast Fashion กลายเป็นตัวเร่งให้วิกฤตสภาพภูมิอากาศรุนแรงขึ้น ตอนที่ 3 : อุตสาหกรรมแฟชั่นยักษ์ใหญ่ และการแสวงหาผลกำไรเหนือสิทธิมนุษยชน
แม้ว่าเหตุการณ์อาคาร Rana Plaza ถล่ม จะล่วงเลยมากว่า 10 ปีแล้ว แต่ปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนในอุตสาหกรรมแฟชั่นได้รับการแก้ไขบ้างหรือไม่?
-
สำรวจเหตุผลที่ทำไม Fast Fashion กลายเป็นตัวเร่งให้วิกฤตสภาพภูมิอากาศรุนแรงขึ้น ตอนที่ 2 : ขยะสิ่งทอและเสื้อผ้าที่รอกำจัดด้วยการเผา
บริษัทเหล่านี้มีสต็อกเสื้อผ้าที่ขายไม่ออกอยู่มหาศาล เนื่องจากการผลิตในปริมาณมากทำให้ต้นทุนการผลิตถูกลง และวิธีระบายขยะเสื้อผ้าเหล่านี้ก็คือการส่งไปยังเตาเผา แต่บริษัทยังคงเก็บวิธีการกำจัดเสื้อผ้าแบบนี้ไว้เป็นความลับ โดยไม่ระบุว่ามีขยะเสื้อผ้าที่ถูกส่งไปยังเตาเผาในปริมาณเท่าไหร่
-
เปิดโปงการฟอกเขียวในอุตสาหกรรม Fast Fashion : รวมกลยุทธ์ที่แบรนด์ใช้ปิดบังต้นทุนทางสิ่งแวดล้อม
ตั้งแต่ปี 2543 ถึงปี 2557 การผลิตเสื้อผ้าเพิ่มสูงขึ้นเป็นเท่าตัว จนถึงจำนวนการผลิตราว 100 พันล้านตัว ซึ่งเกินจุดที่ไม่ยั่งยืนของการผลิตในแต่ละปี
-
‘แฟชั่นหมุนเวียน’ อาจแค่การฟอกเขียว แต่ Slow Fashion คือทางออกสู่อนาคต
ประชาชนในเคนยาและกลุ่มประเทศซีกโลกใต้กำลังเผชิญปัญหาเสื้อผ้าไม่ใช้แล้ว และเสื้อผ้าปริมาณมหาศาลที่ไม่เป็นที่ต้องการในประเทศร่ำรวยทะลักเข้าสู่ประเทศตัวเอง ซึ่งปริมาณของมันมากเกินกว่าความต้องการของตลาดในท้องถิ่น
-
รายงานเผย ผลิตภัณฑ์ของ SHEIN ปนเปื้อนสารเคมีอันตราย ผิดเงื่อนไขสหภาพยุโรป
รายงานฉบับใหม่ของ กรีนพีซ เยอรมนี เปิดเผยถึงการพบการปนเปื้อนสารเคมีอันตรายในผลิตภัณฑ์แบรนด์ฟาสต์แฟชั่น SHEIN โดยทดสอบผลิตภัณฑ์จากแบรนด์ SHEIN ทั้งหมด 47 ชิ้น และพบการปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์ 7 ชิ้น (คิดเป็น 15%) ซึ่งการพบการปนเปื้อนสารเคมีอันตรายในผลิตภัณฑ์นี้ผิดเงื่อนไขการจำกัดปริมาณสารเคมีของสหภาพยุโรป
-
พบขยะสิ่งทอจากแบรนด์ชื่อดังอย่าง Nike, Clarks และหลากหลายแบรนด์เป็นเชื้อเพลิง (ที่เป็นพิษ) ในธุรกิจเตาเผาอิฐกัมพูชา (ตอนที่ 2)
โรงงานผลิตเสื้อผ้าและรองเท้าที่ผลิตสินค้าให้กับแบรนด์เสื้อผ้าชื่อดังของโลกส่วนใหญ่จะทิ้งเสื้อผ้า รองเท้าหรือสิ่งทออื่น ๆ ไปยังบ่อขยะหรือที่อื่นๆ ผ่านบริษัทที่มีใบอนุญาตในการกำจัดขยะ อย่างไรก็ตาม ในอุตสาหกรรมแฟชั่นที่ผลิตขยะเสื้อผ้าในปริมาณมากกลับไม่มีมาตรการที่รัดกุมมากพอที่จะทำให้ขยะเหล่านี้กลายเป็นเชื้อเพลิงในเตาเผาอิฐตามโรงงาน
-
พบขยะสิ่งทอจากแบรนด์ชื่อดังอย่าง Nike, Clarks และหลากหลายแบรนด์เป็นเชื้อเพลิง (ที่เป็นพิษ) ในธุรกิจเตาเผาอิฐกัมพูชา (ตอนที่ 1)
เศษเสื้อผ้าที่ถูกทิ้งจากโรงงานผลิตในกัมพูชาเชื่อมโยงไปถึงห่วงโซ่การผลิตของกลุ่มแบรนด์เสื้อผ้าเครื่องประดับชื่อดัง โดยขยะสิ่งทอเหล่านี้กลายเป็นเชื้อเพลิงในธุรกิจเตาเผาอิฐ ก่อให้เกิดมลพิษที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของพนักงาน