All articles

  • Organic Rice Art at Ratchaburi in Thailand. © Greenpeace / Athit Perawongmetha

    ศิลปะบนนาข้าวอินทรีย์

    "คนไทยรักข้าวไทย" กรีนพีซร่วมสนับสนุนให้คนไทยตระหนักถึงความสำคัญของข้าวไทย ข้าว อาหารหลักของคนไทย ผลิตผลการเกษตรส่งออกหลักของประเทศ ชาวนา กระดูกสันหลังของชาติ กำลังไดัรับผลกระทบอย่างรุนแรงจากข้าวดัดแปลงพันธุกรรม (จีเอ็มโอ) ของบริษัทเคมีเกษตร

    Greenpeace Thailand 4 min read
  • Settlement of Tasiilaq in Greenland. © Nick Cobbing / Greenpeace

    ทะเลน้ำแข็งแถบอาร์กติก

    ทั่วโลกต่างจับจ้องที่ขั้วโลกเหนือว่าทะเลน้ำแข็งมีขนาดเหลืออยู่อย่างน้อยเท่าไหร่พร้อมทั้งเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมาในช่วงกลางเดือนกันยายนของทุกปี

    Greenpeace Thailand 6 min read
  • Polar Bear on Labrador Sea Ice. © Jiri Rezac / Greenpeace

    อาร์กติกและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

    อุณหภูมิในอาร์กติกกำลังสูงขึ้นอย่างรวดเร็วมากกว่าส่วนอื่นๆ ของโลก และกำลังเผชิญกับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่รุนแรงที่สุดบนโลก ความเปลี่ยนแปลงที่เห็นได้ชัด คือ การหดตัวอย่างรวดเร็วของความหนาของน้ำแข็ง และปริมาณพื้นที่ทะเลน้ำแข็ง

    Greenpeace Thailand 4 min read
  • GE Clearing Contaminated Farm in Thailand. © Greenpeace / Vinai Dithajohn

    เกษตรกรรมพืชตัดต่อพันธุกรรมและมลพิษทางพันธุกรรม

    การปล่อยสิ่งมีชีวิตตัดต่อพันธุกรรมออกสู่ระบบนิเวศอันซับซ้อนถือเป็นการทดลองที่เป็นอันตรายต่อธรรมชาติและวิวัฒนาการนักวิทยาศาสตร์ด้านพันธุกรรมกำลังดัดแปลงชีวิตโดยการตัดต่อพันธุกรรม ผลผลิตที่ได้ คือ สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถมีวิวัฒนาการโดยธรรมชาติ และไม่สามารถอาศัยในถิ่นที่อยู่ธรรมชาติ

    Greenpeace Thailand 5 min read
  • Organic Rice Art Ratchaburi. © Greenpeace / John Novis

    อาหารดัดแปลงพันธุกรรม

    อาหารดัดแปลงพันธุกรรมคืออะไร...พืชผลดัดแปลงพันธุกรรมผลิตขึ้นโดยใช้เทคนิคในห้องทดลอง โดยนำุพันธุกรรมจากเซลล์สิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งไปใส่ในสิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่ง เพื่อสร้างสิ่งมีชีวิตชนิดใหม่ที่ไม่มีทางเกิดขึ้นเองจากการผสมพันธุ์ตามธรรมชาติ

    Greenpeace Thailand 5 min read
  • Organic Rice Art at Ratchaburi in Thailand. © Greenpeace / Athit Perawongmetha

    พืชผล ปลา และ ต้นไม้ ตัดต่อพันธุกรรม

    มอนซานโตและบริษัทเทคโนโลยีัพันธุวิศวกรรมอื่นๆ เช่น ซินเจนตา และ ไบเออร์ กำลังประดิษฐ์พืชที่ไม่มีพัฒนาการเองในธรรมชาติ ซึ่งตรงข้ามกับที่พวกเขาต้องการให้เราเชื่อ พันธุวิศวกรรมเป็นเทคโนโลยีที่ยังไม่ผ่านการทดสอบที่ทำลายกำแพงทางธรรมชาติ โดยการผสมยีนส์ข้ามสายพันธุ์ ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่มีวันเกิดขึ้นโดยธรรมชาติ

    Greenpeace Thailand 2 min read
  • Ozone Hole Action in Austria. © Greenpeace / Waltraud Geier

    ภาวะโลกร้อน กับ การเกิดรูโหว่ของชั้นโอโซน

    การเกิดรูโหว่ในชั้นโอโซน ยังเป็นประเด็นที่หลายคนยังเข้าใจผิดว่าเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะโลกร้อน แต่ในความเป็นจริงแล้วนั้น การที่ชั้นโอโซนถูกทำลายจนเกิดรูโหว่ที่เราได้ยินกันนั้น มิได้เป็นสาเหตุที่ทำให้โลกร้อนขึ้น แต่จะทำให้รังสีที่เป็นอันตรายต่อมนุษย์และสิ่งมีชีวิตผ่านเข้ามายังพื้นโลกมากขึ้น

    Greenpeace Thailand 3 min read