All articles

  • รายงานการจัดอันดับความยั่งยืนปลาทูน่ากระป๋องปี พ.ศ.2563

    ความยั่งยืนและความเป็นธรรมในน่านน้ำสากล: การจัดอันดับความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่ากระป๋องในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พ.ศ.2563 เป็นรายงานที่กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้จัดทำขึ้นเป็นฉบับที่ 4 แล้ว มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินบริษัทและแบรนด์ผู้ผลิตปลาทูน่ากระป๋องในภูมิภาคว่า มีความก้าวหน้าด้านนโยบายทางสิ่งแวดล้อมและด้านแรงงานอยู่ในระดับใด

    Greenpeace Thailand
  • สมุดปกฟ้าอากาศสะอาด (Clean Air Blue Paper)

    “สมุดปกฟ้าอากาศสะอาด” ได้มุ่งเติมเต็มองค์ความรู้เชิงลึกในทุกมิติของผลกระทบจากมลพิษทางอากาศเพื่อเร่งสร้างความตระหนักรู้ถึงอันตรายของมลพิษทางอากาศต่อสังคมไทย

    Thailand Clean Air Network
  • solar-revolution-poster

    ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566)

    รายงานฉบับนี้ จึงเน้นย้ำถึงความจำเป็นในการนำระบบ net-metering มาใช้ในประเทศไทย โดยตั้งเป้าหมายที่จะมีระบบโซลาร์รูฟท็อป 3,000 เมกะวัตต์ ภายในระยะเวลา 3 ปี

    กรีนพีซ ประเทศไทย, กองทุนแสงอาทิตย์, สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, มูลนิธินโยบายสุขภาวะ
  • ชีวิตติดร่างแห ปี 2

    ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2562 สหภาพยุโรปได้ประกาศปลด ‘ใบเหลือง’ และถอดประเทศไทยออกจากรายชื่อ ‘ประเทศที่ถูกเตือน’ สำหรับการทำประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงานและไร้การควบคุม (IUU fishing)  ส่งผลให้ประเทศไทยกลายมาเป็น “ต้นแบบ” (Role model)  ของหลายประเทศในแง่การแก้ปัญหาการทำประมง หากแต่ว่าในทางปฏิบัติ เกิดความเปลี่ยนแปลงอย่างไรกับชีวิตแรงงานประมงบ้าง

    ภาคีเครือข่ายภาคประชาสังคมเพื่ออาหารทะเลที่เป็นธรรมและยั่งยืน
  • ข้าวโพด การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน และมลพิษทางอากาศข้ามพรมแดน

    รายงานวิเคราะห์ชิ้นล่าสุด “ข้าวโพด การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน และมลพิษทางอากาศข้ามพรมแดน” เผยถึงบทบาทของอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ที่เชื่อมโยงกับการก่อหมอกควันพิษข้ามพรมแดนโดยการวิเคราะห์ข้อมูลจากดาวเทียมระหว่างปี 2558-2562 พบว่า มีพื้นที่เผาไหม้และจุดความร้อนในพื้นที่ปลูกข้าวโพดในอนุภาคภูมิภาคลุ่มน้ำโขงอยู่โดยเฉลี่ย 1 ใน 3 ของพื้นที่เผาไหม้และจุดความร้อนที่เกิดขึ้นทั้งหมด

    Greenpeace Thailand
  • รุ่งเรืองแล้วร่วงโรย 2563

    การติดตามแผนการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินทั่วโลก ปี 2563 จากฐานข้อมูลติดตามโรงไฟฟ้าถ่านหินท่ัวโลก พบว่าตัวชี้วัดการเติบโตของกําลังการผลิตไฟฟ้าจากถ่านหินแทบทั้งหมดมีการลดปริมาณลงในปี 2562 ซึ่งนับเป็นปีที่ 4 ติดต่อกัน

    Greenpeace Thailand
  • เชื้อดื้อยามาถึงเราได้อย่างไร?

    อาหารที่เรากินกันอยู่ทุกวันไม่ว่าจะเป็นเนื้อสัตว์ ผัก หรือผลไม้ ล้วนมีความเสี่ยงต่อการปนเปื้อนและการตกค้างของยาปฏิชีวนะ การตกค้างของยาปฏิชีวนะนี้เองอาจก่อให้เกิดการติดเชื้อดื้อยาซึ่งเป็นหนึ่งในภัยคุกคามต่อสุขภาพในปัจจุบัน

    Greenpeace Thailand
  • รายงานอากาศพิษ : ราคาของเชื้อเพลิงฟอสซิล

    รายงานฉบับนี้ เปิดเผย มูลค่าความเสียหายของมลพิษทางอากาศจากเชื้อเพลิงฟอสซิลและหยิบยกแนวทางแก้ไขที่สามารถปกป้องสุขภาพ และยังเป็นประโยชน์ต่อชุมชนของเรา โดยรายงานแสดงให้เห็นว่า มลพิษทางอากาศที่เกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรของผู้คนทั่วโลกราว 4.5 ล้านคนต่อปี

    Greenpeace Thailand
  • รายงานประจำปี 2562

    เกือบจะเป็นเวลาสองทศวรรษหลังจากที่กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ถือกำเนิดขึ้น พวกเราพบว่ามีหลายอย่างที่พวกเรารู้สึกขอบคุณ หนึ่งในนั้นคือการเติบโตของพลังมวลชนทั่วทั้งภูมิภาค

    Greenpeace Thailand
  • มลพิษในน้ำ: อุตสาหกรรมปศุสัตว์ สร้างมลพิษในแหล่งน้ำยุโรปอย่างไร

    การทำอุตสาหกรรมปศุสัตว์เป็นปัญหาหลักที่ส่งผลกระทบต่อทั้งสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของมนุษย์ ภายในปี พ.ศ. 2568 ครึ่งหนึ่งของประชากรโลกจะอาศัยอยู่ในพื้นที่ที่เข้าถึงแหล่งน้ำได้ยาก การปศุสัตว์เชิงอุตสาหกรรมใช้น้ำอย่างฟุ่มเฟือย ปล่อยมลพิษลงแหล่งน้ำ และคุกคามทรัพยากรอันมีค่ายิ่งของพวกเรา

    Greenpeace Thailand