All articles

  • การแย่งยึดน้ำครั้งใหญ่

    ทรัพยากรน้ำจืดโลกที่กำลังลดลงอย่างรวดเร็วมีแนวโน้มร่อยหรอลงอย่างต่อเนื่องหากแผนการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินแห่งใหม่หลายร้อยแห่งทั่วโลกยังคงเดินหน้าซึ่งเป็นแรงกดดันต่อสภาวะภัยแล้งที่รุนแรงและการแย่งชิงทรัพยากรน้ำ

    Greenpeace Thailand
  • จุดที่ไม่สามารถย้อนกลับไปได้

    โลกของเรากำลังอยู่ในจุดที่ไม่สามารถย้อนกลับไปได้แล้ว เราต้องเลือกระหว่างการนำพลังงานหมุนเวียนมาใช้แทนถ่านหิน น้ำมันและก๊าซ หรือเลือกที่จะเผชิญหน้ากับอนาคตที่มีหายนะจากภาวะโลกร้อนรออยู่

    Greenpeace Thailand
  • เขตคุ้มครองธรรมชาติแห่งอาร์กติก

    ขณะนี้ น้ำแข็งในทะเลอาร์กติกกำลังละลาย การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอันเป็นผลจากการกระทำของมนุษย์ทำให้ปริมาณน้ำแข็งในทะเลช่วงฤดูร้อนลดลงไปอย่างน้อยร้อยละ 75 ซึ่งเป็นอัตราที่ไม่เคยประสบมาก่อนในประวัติศาสตร์มนุษย์

    Greenpeace Thailand
  • Icescape in Greenland. © Pedro Armestre / Greenpeace

    จากอาร์กติกสู่ไทย

    ผลกระทบของสภาวะโลกร้อนที่ไม่ได้อยู่แค่เพียงในอาร์กติก การดำรงอยู่ของพวกเราล้วนเกี่ยวข้องกับอาร์กติก นอกเหนือจากจะเป็นบ้านของสัตว์นานาสายพันธุ์แล้ว ภูมิภาคนี้ยังมีบทบาทในการรักษาสภาพภูมิอากาศของโลก โดยทำหน้าที่เป็นเสมือนตู้เย็นของโลกคอยรักษาระดับความเย็นของโลกทั้งใบไว้

    Greenpeace Thailand 5 min read
  • Defending Our Oceans Tour - Hawaii Trash (Hawaii: 2006). © Greenpeace / Alex Hofford

    เด็ดดอกไม้สะเทือนถึงดวงดาว เผาป่าสะเทือนถึงผืนทะเล

    คุณเชื่อเรื่องเช่นนี้หรือไม่ อาจฟังดูเหลือเชื่อ แต่วลีนี้ขยายความถึง “ทฤษฏีไร้ระเบียบ” (Chaos Theory) ซึ่งอธิบายว่าการทำลายธรรมชาติแม้เพียงเล็กน้อยจะส่งผลกระทบอันใหญ่หลวงต่อโลกของเรา

  • Polar Bear in the Arctic. © Daniel Beltrá / Greenpeace

    อาร์กติกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

    ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กำลังเผชิญกับวิกฤตการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เกิดขึ้นในรูปแบบของมรสุมพายุซึ่งเราต่างรับรู้และเผชิญกับมหันตภัยของมันมาหลายต่อหลายครั้งแล้ว เช่น พายุใต้ฝุ่นที่ทวีความรุนแรงและเกิดบ่อยยิ่งขึ้นในบางพื้นที่ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

    Greenpeace Thailand 3 min read
  • Black Thunder Coal Mine in USA. © Greenpeace / Tim Aubry

    เมื่อถึงจุดที่ไม่มีทางย้อนกลับ

    โลกของเรากำลังเดินมาถึงจุดที่ไม่มีทางย้อนกลับ และเราจำเป็นต้องป้องกันผลกระทบที่ร้ายแรงอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หากยังปล่อยให้เป็นเช่นนี้ต่อไปจะยิ่งทำให้ยาก หรือแม้แต่แทบจะเป็นไปไม่ได้ที่จะป้องกันภัยพิบัติในวงกว้างของสภาวะโลกร้อน คงจะมีมูลค่าความเสียหายมหาศาล

    Greenpeace Thailand 8 min read
  • Godafoss Oil Leak Near Norway Coast. © Jon Terje Hellgren Hansen / Greenpeace

    อันตรายของน้ำมันในอาร์กติก

    การขุดเจาะน้ำมันในอาร์กติกเป็นธุรกิจที่อันตรายและมีความเสี่ยงสูง อีกทั้งหากมีการรั่วไหลของน้ำมันภายใต้ผืนน้ำแข็งนี้ก็จะส่งผลกระทบอันเป็นภัยพิบัติต่อภูมิภาคดั้งเดิมที่สวยงามโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์แห่งหนึ่งของโลก ภัยจากอุบัติเหตุดังกล่าวมีให้เห็นแล้วในอดีต แต่แผนการรับผิดชอบจากอุตสาหกรรมน้ำมันกลับยังมีไม่เคยมีอย่างเพียงพอและเหมาะสม

    Greenpeace Thailand 8 min read
  • Settlement of Tasiilaq in Greenland. © Nick Cobbing / Greenpeace

    ทะเลน้ำแข็งแถบอาร์กติก

    ทั่วโลกต่างจับจ้องที่ขั้วโลกเหนือว่าทะเลน้ำแข็งมีขนาดเหลืออยู่อย่างน้อยเท่าไหร่พร้อมทั้งเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมาในช่วงกลางเดือนกันยายนของทุกปี

    Greenpeace Thailand 6 min read
  • Polar Bear on Labrador Sea Ice. © Jiri Rezac / Greenpeace

    อาร์กติกและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

    อุณหภูมิในอาร์กติกกำลังสูงขึ้นอย่างรวดเร็วมากกว่าส่วนอื่นๆ ของโลก และกำลังเผชิญกับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่รุนแรงที่สุดบนโลก ความเปลี่ยนแปลงที่เห็นได้ชัด คือ การหดตัวอย่างรวดเร็วของความหนาของน้ำแข็ง และปริมาณพื้นที่ทะเลน้ำแข็ง

    Greenpeace Thailand 4 min read